แผนกขาย
หน้าที่ของแผนกขาย
มีหน้าที่ในการบริการจำหน่ายสินค้าให้กับลูกค้า โดยแผนกขายจะมีการเก็บข้อมูลของลูกค้าที่มาสั่งซื้อ และข้อมูลการสั่งซื้อ
ผู้จัดการทีมงานขายควรมีความสามารถในด้านการคิดเชิงกลยุทธ์
(Strategic
Thinking) โดยการทำเรื่องที่สำคัญ
มากกว่าการทำงานเร่งด่วน เพื่อให้ทีมงานได้ทำงานอย่างเต็มประสิทธิภาพ โดยที่ผู้จัดการทีมงานขายเลือกเรื่องสำคัญที่จะนำไปปฏิบัติมีดังนี้
การวิเคราะห์สภาวะการแข่งขัน
การกำหนดเป้าหมายยอดขาย
การวางแผนงานเชิงกลยุทธ์
การบริหารการประชุม
การพัฒนาทีมงานขาย
การแข่งขันในปัจจุบันต้องพร้อมด้วยความรู้ความสามารถของคนทุกคน ในทีมงาน จะอาศัยเพียงคนเก่งบางคนไม่เพียงพออีกแล้ว
ผู้จัดการทีมงานขายในฐานะผู้นำทีม ต้องมีความพร้อมมากที่สุด
เพื่อนำพาให้ทีมบรรลุเป้าหมายให้ได้
การวิเคราะห์สภาวะการแข่งขัน ผู้จัดการทีมงานขายควรประเมินสภาวะการแข่งขันอยู่เสมอโดยการเลือกเรื่องที่จะวิเคราะห์ดังนี้
ขนาดตลาด
: มูลค่าขนาดตลาดที่มุ่งหวังมีขนาดใหญ่แค่ไหน ?
กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
: ลูกค้าหลักที่ให้รายได้ส่วนใหญ่คือกลุ่มใด ?
คู่แข่งรายสำคัญ
: องค์กรกำลังแข่งกับใครเป็นหลัก ?
ข้อได้เปรียบการแข่งขัน
: องค์กรมีจุดเด่นใดที่คู่แข่งไม่มี ?
แนวโน้มการเจริญเติบโตของธุรกิจ
:ธุรกิจสามารถเติบโตต่อไปได้หรือไม่ ?
การตอบคำถามสำคัญๆ ในการวิเคราะห์การแข่งขันจะช่วยทำให้ผู้จัดการมองเห็นภาพรวมและรู้ข้อมูลของตัวเอง และคู่แข่งได้ชัดเจน ดังคำว่า “รู้เขารู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง” เมื่อตอบคำถามได้ชัดเจน และแม่นยำก็จะทำให้สามารถกำหนดทิศทางการแข่งขันให้กับทีมได้ชัดเจนด้วย
การกำหนดเป้าหมายยอดขาย
ผู้จัดการทีมงานขายควรกำหนดเป้าหมายยอดขายให้ท้าทายความสามารถของทีมงานขาย
โดยแปลงเป็นเป้าหมายย่อยในหลากหลายมิติต่างๆ เช่น
เป้าหมายด้านเวลา : แบ่งเป็นรายเดือน
, รายสัปดาห์, รายวัน เป็นต้น
เป้าหมายย่อยด้านสินค้า : สินค้าหลักกลุ่มใดบ้างที่คาดหวังยอดขายเท่าไร
เป้าหมายย่อยด้านลูกค้า : กลุ่มอุตสาหกรรมใดบ้างที่คาดหวังยอดขายเท่าไร
เป้าหมายย่อยด้านพนักงานขาย : พนักงานขายทีมใด
หรือคนใดควรมียอดขายเท่าไร
เป้าหมายย่อยด้านเขตพื้นที่ : พื้นที่ใดบ้างที่องค์กรคาดหวังยอดขายเท่าไร
การกำหนดเป้าหมายย่อยจะทำให้ทีมงานสามารถจดจ่อ กับเป้าหมายที่เห็นได้ชัดเจน มากกว่าเป้าหมายหลัก ถ้าทีมงานใดสามารถกำหนดเป้าหมายย่อยได้มากเท่าไรก็จะทำให้มองเห็นสิ่งที่ต้องทำได้มากขึ้นเท่านั้น ดังนั้นผู้จัดการทีมขายควรกำหนดเป้าหมายย่อยร่วมกับทีมงานและทำให้เป้าหมายย่อยกลายเป็นเป้าหมาย ของพนักงานขายแต่ละคน
การวางแผนเชิงกลยุทธ์
คนส่วนใหญ่ชอบคำชม มากว่าคำตำหนิ ควรให้ความระมัดระวังไม่ได้มีเจตนาตำหนิ
แต่ชี้ให้เห็นประเด็นสำคัญที่ไม่ได้คิด โดยการใช้คำถามแทนการบอกว่าผิด และเมื่อปฏิบัติสิ่งใดได้ดีหรือมีแนวความคิดดีๆ
ก็ควรชื่นชมอย่างจริงใจในทันที เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจเพิ่มมากขึ้น
การให้ข้อมูลป้อนกลับเชิงบวก ยังรวมถึงการให้ข้อมูลที่เป็นจริง แต่ต้องเป็นผู้พิจารณาว่าคิดอย่างไรกับข้อมูลนั้นๆ แล้วเลือกปฏิบัติด้วยตัวเอง
กลยุทธ์ 4 Ps’ ( Product
Price Place Promotion)
กลยุทธ์ SO (การนำจุดเด่น (Strength) และโอกาส (Opportunity)มากำหนดเป็นแผนงานการปฏิบัติงาน)
กลยุทธ์สร้างความแตกต่าง
(การทำในสิ่งที่คู่แข่งไม่มี)
กลยุทธ์ต้นทุนต่ำ
(การลดต้นทุนให้ต่ำกว่าคู่แข่งอยู่ตลอดเวลา)
กลยุทธ์ตีโอบ
(การเปิดตลาดอื่นๆ แล้วค่อยมุ่งสู่ตลาดที่คู่แข่งยึดครองอยู่)
การบริหารการประชุม
ทีมงานขายเป็นหัวใจสำคัญที่จะนำมาซึ่งยอดขายขององค์กร
ดังนั้นผู้จัดการขายมีหน้าที่ต้องพัฒนาทีมงานขายอย่างสม่ำเสมอ
อาจเป็นการฝึกอบรมด้วยตัวเอง หรือส่งอบรมภายนอกก็ตาม
โดยที่ผู้จัดการควรวางแผนให้ชัดเจนว่าจะพัฒนาพนักงานขายในชื่ออะไรบ้าง เช่น
ความรู้เกี่ยวกับสินค้าและบริการ
เทคนิคการขายอย่างมืออาชีพ
เทคนิคการขายอย่างมืออาชีพ
การเจรจาต่อรองอย่างสร้างสรรค์
การคิดและวางแผนงานขายเชิงกลยุทธ์
การจูงใจให้รักในงานขาย เป็นต้น
ผู้จัดการทีมงานขายอาจเป็นกังวลเมื่อพนักงานขายไม่สามารถทำยอดขายได้ตามเป้าหมาย และอยากเป็นผู้ไปขายด้วยตัวเอง ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำ
เป็นอย่างยิ่ง แต่ต้องทำเรื่องที่สำคัญ
เพื่อช่วยให้การขายดำเนินผ่านพนักงานขายไปให้ได้อย่าเป็นพนักงานขายเองเลย
ขั้นตอนที่ 2 เตรียมข้อมูลลูกหนี้ เมนู Enterprise Manager >AR Setup >กำหนดรหัสลูกหนี้
ขั้นตอนที่ 3 เตรียมข้อมูลสินค้าบริการ เมนู Enterprise Manager>IC Setup > กำหนดรหัสสินค้าบริการ
ขั้นตอนที่ 4 สร้างเอกสารบัญชีที่เกี่ยวกับการขายบริการที่ เมนู Enterprise Manager > GL Setup>กำหนดเอกสารเชื่อม GL หัวข้อ ขายเชื่อ
ขั้นตอนที่ 5 สร้างเอกสารบัญชีที่เกี่ยวกับการรับชำระหนี้ที่เมนู Enterprise Manager > GL Setup > กำหนดเอกสารเชื่อม GL หัวข้อ รับชำระหนี้
ขั้นตอนที่ 6 กำหนดรูปแบบบัญชีรายการภาษีขายที่ยังไม่ถึงกำหนด ที่เมนู Enterprise Manager> GL Setup >กำหนดรหัสบัญชีรวม
ขั้นตอนการบันทึกรายการ
1.เมื่อฝ่ายขายได้รับการร้องขอให้ดำเนินการเสนอราคาสินค้าบริการจาก ลูกค้า ฝ่ายขายจะทำการตรวจสอบและจัดทำเอกสารใบเสนอราคาสินค้าบริการไปยังผู้ซื้อ โดยผู้ขายอาจจัดทำใบเสนอราคา ส่งมายังฝ่ายจัดซื้อของผู้สั่งซื้อ( ขั้นตอนนี้ฝ่ายขายจะบันทึกเสนอราคาเพื่อส่งให้ลูกค้าพิจารณา ไปที่เมนู Sale Order> SO Data Entry >หน้าต่างใบเสนอราคา)
2.เมื่อฝ่ายขายได้รับเอกสารยืนยันใบเสนอราคาจากผู้ซื้อ จะทำการอ้างอิงเอกสารใบเสนอราคาที่ผู้ซื้อเซ็นต์อนุมัติไปบันทึกที่หน้าจอ สั่งจอง (ขั้นตอนนี้ฝ่ายขายจะบันทึกใบสั่งจอง ไปที่เมนู Sale Order> SO Data Entry >หน้าต่างใบสั่งจอง )
3.เมื่อบันทึกเอกสารสั่งจองแล้วสามารถ อ้างอิงไปบันทึกต่อที่หน้าต่างสั่งขาย ได้ที่ Sale Order> SO Data Entry >หน้าต่างใบสั่งขาย
4.เมื่อบันทึกเอกสารสั่งขายแล้วสามารถอ้างอิงไปบันทึกต่อที่หน้าต่างขาย เชื่อ ได้ที่ Sale Order> SO Data Entry >หน้าต่างขายเชื่อ
7. ตัวอย่างการแสดงรายงาน ที่เกี่ยวข้อง
7.1 รายงานค่าใช้จ่าย ของรหัส Job J-001 - J-002
7.2 การแสดงข้อมูลงบกำไรขาดทุนสุทธิ
7.3 รายงานบัญชีพิเศษและบัญชีคุมสินค้า ,วัตถุดิบ แสดงการเคลื่อนไหวของจำนวนและต้นทุนของสินค้า, วัตถุดิบ
-
ปัญหาของแผนกขาย
1. เอกสารมีจำนวนมาก ทำให้การจัดเก็บไม่เป็นระเบียบ ซึ่งมีเอกสารดังนี้
1.1 เอกสารข้อมูลลูกค้า
1.2 เอกสารข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า
1.3 เอกสารเกี่ยวกับสินค้า
2. เปลืองพื้นที่ในการจัดเก็บแฟ้มเอกสาร เพราะเอกสารทุกชนิดจะจัดเก็บภายในแฟ้ม
3. ค้นหาเอกสารได้ยาก เนื่องจากเอกสารมีเยอะและจัดเก็บไว้หลายที่
4. ข้อมูลมีการสูญหาย เพราะไม่สามารถตรวจสอบได้ว่าเอกสารที่ต้องการอยู่ตรงไหน เนื่องจากการเก็บเอกสารยังไม่เป็นระบบอาจทำให้บริษัทได้รับความเสียหาย
5. ข้อมูลมีความซ้ำซ้อน เนื่องจากลูกค้า 1
ท่านมาซื้อสินค้าหลายครั้ง แต่พนักงานขายก็เก็บข้อมูลทุกครั้ง ทำให้มีเอกสารซ้ำซ้อน
6. ข้อมูลมีความแตกต่าง เนื่องจากในการให้ข้อมูลของลูกค้าแต่ละครั้งมีความเปลี่ยนแปลงเช่น เบอร์โทรศัพท์ ที่อยู่ เพราะลูกค้าอาจจะมีเบอร์โทรศัพท์หลายเบอร์และมีการย้ายสถานที่อยู่เรื่อย ๆ
ขั้นตอนการบันทึกขายสินค้าสำเร็จรูป (ที่ได้จากการับผลิตเสร็จ)
วัตถุประสงค์
1. เพื่อตรวจสอบยอดการขายบริการตามช่วงที่มีการบันทึกขายได้
2. เพื่อตรวจสอบประวัติการใช้บริการจากการขายของลูกค้าแต่ละรายได้
3. กรณีกำหนดรหัสสินค้าบริการ ช่วยให้ไม่ต้องคำนึงถึง Stock สินค้า
4. เพื่อตรวจสอบรายงานวิเคราะห์การขายบริการได้ เช่น วิเคราะห์ตามลูกค้า ตามสินค้า หรือตามพนักงานขาย เป็นต้น
5. เพื่อตรวจสอบการจัดอันดับยอดขายสินค้าบริการได้ทั้งจากยอดขาย และ ปริมาณการขาย
6.สามารถตรวจสอบรายงานงบกำไรขาดทุนจากการขายบริการได้
1. เพื่อตรวจสอบยอดการขายบริการตามช่วงที่มีการบันทึกขายได้
2. เพื่อตรวจสอบประวัติการใช้บริการจากการขายของลูกค้าแต่ละรายได้
3. กรณีกำหนดรหัสสินค้าบริการ ช่วยให้ไม่ต้องคำนึงถึง Stock สินค้า
4. เพื่อตรวจสอบรายงานวิเคราะห์การขายบริการได้ เช่น วิเคราะห์ตามลูกค้า ตามสินค้า หรือตามพนักงานขาย เป็นต้น
5. เพื่อตรวจสอบการจัดอันดับยอดขายสินค้าบริการได้ทั้งจากยอดขาย และ ปริมาณการขาย
6.สามารถตรวจสอบรายงานงบกำไรขาดทุนจากการขายบริการได้
ชื่อผังบัญชี | หมวด | รหัสบัญชี |
ลูกหนี้การค้าในประเทศ | สินทรัพย์ | 11300-01 |
เงินสด | สินทรัพย์ | 11110-001 |
ภาษีขาย | หนี้สิน | 21640-01 |
ภาษีขายยังไม่ถึงกำหนด | หนี้สิน | 21640-02 |
รายได้จากการบริการ | รายได้ | 41000-01 |
ขั้นตอนที่ 2 เตรียมข้อมูลลูกหนี้ เมนู Enterprise Manager >AR Setup >กำหนดรหัสลูกหนี้
ขั้นตอนที่ 3 เตรียมข้อมูลสินค้าบริการ เมนู Enterprise Manager>IC Setup > กำหนดรหัสสินค้าบริการ
ขั้นตอนที่ 4 สร้างเอกสารบัญชีที่เกี่ยวกับการขายบริการที่ เมนู Enterprise Manager > GL Setup>กำหนดเอกสารเชื่อม GL หัวข้อ ขายเชื่อ
ขั้นตอนที่ 5 สร้างเอกสารบัญชีที่เกี่ยวกับการรับชำระหนี้ที่เมนู Enterprise Manager > GL Setup > กำหนดเอกสารเชื่อม GL หัวข้อ รับชำระหนี้
ขั้นตอนที่ 6 กำหนดรูปแบบบัญชีรายการภาษีขายที่ยังไม่ถึงกำหนด ที่เมนู Enterprise Manager> GL Setup >กำหนดรหัสบัญชีรวม
ขั้นตอนการบันทึกรายการ
1.เมื่อฝ่ายขายได้รับการร้องขอให้ดำเนินการเสนอราคาสินค้าบริการจาก ลูกค้า ฝ่ายขายจะทำการตรวจสอบและจัดทำเอกสารใบเสนอราคาสินค้าบริการไปยังผู้ซื้อ โดยผู้ขายอาจจัดทำใบเสนอราคา ส่งมายังฝ่ายจัดซื้อของผู้สั่งซื้อ( ขั้นตอนนี้ฝ่ายขายจะบันทึกเสนอราคาเพื่อส่งให้ลูกค้าพิจารณา ไปที่เมนู Sale Order> SO Data Entry >หน้าต่างใบเสนอราคา)
2.เมื่อฝ่ายขายได้รับเอกสารยืนยันใบเสนอราคาจากผู้ซื้อ จะทำการอ้างอิงเอกสารใบเสนอราคาที่ผู้ซื้อเซ็นต์อนุมัติไปบันทึกที่หน้าจอ สั่งจอง (ขั้นตอนนี้ฝ่ายขายจะบันทึกใบสั่งจอง ไปที่เมนู Sale Order> SO Data Entry >หน้าต่างใบสั่งจอง )
3.เมื่อบันทึกเอกสารสั่งจองแล้วสามารถ อ้างอิงไปบันทึกต่อที่หน้าต่างสั่งขาย ได้ที่ Sale Order> SO Data Entry >หน้าต่างใบสั่งขาย
4.เมื่อบันทึกเอกสารสั่งขายแล้วสามารถอ้างอิงไปบันทึกต่อที่หน้าต่างขาย เชื่อ ได้ที่ Sale Order> SO Data Entry >หน้าต่างขายเชื่อ
*** หน้าต่างขายเชื่อสามารถบันทึกบัญชีได้ที่ Tab GL โดยโปรแกรมจะบันทึกบัญชีภาษีเป็น ภาษีขายยังไม่ถึงกำหนด ***
5.เมื่อมีการบันทึกขายเชื่อแล้ว
** หมายเหตุ หน้าต่างรับชำระหนี้จะมีการบันทึกบัญชีหักล้างภาษีขายยังไม่ถึงกำหนดและบันทึกลงบัญชีภาษีขาย **
7. ตัวอย่างการแสดงรายงาน ที่เกี่ยวข้อง

7.2 การแสดงข้อมูลงบกำไรขาดทุนสุทธิ

7.3 รายงานบัญชีพิเศษและบัญชีคุมสินค้า ,วัตถุดิบ แสดงการเคลื่อนไหวของจำนวนและต้นทุนของสินค้า, วัตถุดิบ

*หมายเหตุ
ก่อนเรียกดูรายงาน ให้คำนวณต้นทุน ที่ระบบ Inventory Control > IC Reprocess and History > Calculate Cost

ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น